เมนู

มี 3 อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอรหันต์อาศัยอุตุ ฯลฯ โภชนะฯลฯ
เสนาสนะ ทำกิริยาสมาบัติที่ยังไม่เกิดขึ้นให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว.
8. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ อุตุ ฯลฯ โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็น
ปัจจัยแก่กายิกสุข แก่กายิกทุกข์ แก่ผลสมาบัติ ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย
9. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของอุปนิสสยปัจจัย

มี 3 อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และ
ปกตูปนิสสยะ.
ที่เป็นปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยอุตุ ให้ทาน ฯลฯ ทำ
ลายสงฆ์, อาศัยโภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ ให้ทาน ฯลฯ ทำลายสงฆ์, อุตุ ฯลฯ
โภชนะ ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ แก่ความปรารถนา ด้วย
อำนาจของอุปนิสสยปัจจัย.

10. ปุเรชาตปัจจัย


[1380] 1. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.

ที่เป็นอารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระอรหันต์เห็นจักษุ ฯลฯ กายะ
โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯ ล ฯ เห็นรูป ฯลฯ
โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯ ล ฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ
ฯลฯ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ ฯลฯ.
ที่เป็น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็น
เนววิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
2. เนววัปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก
ธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.
ที่เป็นอารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณา
เห็นจักษุโดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ย่อมยินดี ย่อม
เพลิดเพลินยิ่ง เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น เมื่อ
กุศลและอกุศลดับแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก ย่อมเกิดขึ้น. พิจารณา
เห็นโสตะ ฯ ล ฯ หทยวัตถุโดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ ตทารัมมณจิต
อันเป็นวิบากย่อมเกิดขึ้น.
รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย
ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
ที่เป็นวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ
ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ, หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่วิบาก-
ขันธ์ ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.
3. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย

มี 2 อย่าง คือ ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ และ วัตถุปุเรชาตะ.
ที่เป็น อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ พระเสกขะ หรือปุถุชน พิจารณา
เห็นจักษุ ฯ ล ฯ เพราะปรารภจักษุนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสย่อมเกิดขึ้น
พิจารณาเห็นโสตะ ฯ ล ฯ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง ฯลฯ
โทมนัส ฯ ล ฯ เห็นรูปด้วยทิพยจักษุ ฯ ล ฯ ฟังเสียงด้วยทิพโสตธาตุ.
ที่เป็นวัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น
วิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปุเรชาตปัจจัย.

11. ปัจฉาชาตปัจจัย


[1381] 1. วิปากธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปากธัมม-
ธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย

คือ วิบากขันธ์ที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ด้วย
อำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.
[1382] 2. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนววิปากนวิปาก-
ธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.

3. เนววิปากนวิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่เนว-
วิปากนวิปากธัมมธรรม ด้วยอำนาจของปัจฉาชาตปัจจัย.


12. อาเสวนปัจจัย


[1383] 1. วิปากธัมมธรรม เป็นปัจจัยแก่วิปากธัมมธรรม
ด้วยอำนาจของอาเสวนปัจจัย